"บึงกาฬ"
จังหวัดใหม่ของเมืองไทย
จังหวัดบึงกาฬ เป็นจังหวัดที่มีการร้องขอให้จัดตั้งขึ้น เมื่อปี พ.ศ. 2537 ตามข้อเสนอของนายสุเมธ พรมพันห่าว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเสรีธรรม จังหวัดหนองคาย โดยแยกพื้นที่อำเภอบึงกาฬ อำเภอปากคาด อำเภอโซ่พิสัย อำเภอพรเจริญ อำเภอเซกา อำเภอบึงโขงหลง อำเภอศรีวิไล และอำเภอบุ่งคล้า ออกจากจังหวัดหนองคาย
จากการสำรวจความเห็นของประชาชน จำนวน 366,903 คน ปรากฏว่าประชาชนเห็นด้วยกับการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ ร้อยละ 98.83 หากมีการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ จะมีประชากรประมาณ 399,233 คน ประกอบด้วย 8 อำเภอ ส่วนจังหวัดหนองคาย จะประกอบด้วย 9 อำเภอ ประชากร 506,343 คน
สภาพทั่วไปบึงกาฬ เป็นอำเภอที่มีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง มีน้ำตก มีภูเขา เป็นอำเภอที่มีเขตพื้นที่ติดต่อกับแม่น้ำโขง และแขวงบริคำไชย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ผลการพิจารณา เมื่อปี พ.ศ. 2537 กระทรวงมหาดไทย ได้แจ้งผลการพิจารณาว่ายังไม่มีแผนที่จะยกฐานะอำเภอบึงกาฬขึ้นเป็นจังหวัด เพราะการจัดตั้งจังหวัดใหม่เป็นการเพิ่มภาระด้านงบประมาณ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มกำลังคนภาครัฐซึ่งขัดมติคณะรัฐมนตรี
ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 กระทรวงมหาดไทย ได้นำเรื่องการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ เข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอเป็นร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. ...
ต่อมาในวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีก็มีมติให้ทำการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬขึ้นซึ่งมีผลนับตั้งแต่นี้เป็นต้นไป จึงนับได้ว่าขณะนี้จังหวัดบึงกาฬได้แยกตัวออกจากจังหวัดหนองคายเป็นจังหวัดที่ 77 ในราชอาณาจักรไทย
อำเภอเมืองบึงกาฬ
เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดบึงกาฬ มีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง มีน้ำตก มีภูเขา เป็นอำเภอที่มีเขตพื้นที่ติดกับแม่น้ำโขง และอีกฝั่งตรงข้ามแม่น้ำโขงจะเป็นประเทศเพื่อนบ้าน (ลาว) มีการคมนาคมสะดวก
ประวัติ เดิมอำเภอบึงกาฬมีชื่อเดิมว่า ไชยบุรีซึ่งขึ้นกับจังหวัดนครพนม จนกระทั่งปี พ.ศ. 2460 ได้ถูกโอนย้ายให้ขึ้นต่อจังหวัดหนองคาย และถูกเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น บึงกาฬ ในปี พ.ศ. 2482
ต่อมา ในปี พ.ศ. 2537 ได้มีการร้องขอให้จัดตั้งเป็นจังหวัดบึงกาฬ ตามข้อเสนอของนายสุเมธ พรมพันห่าว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเสรีธรรม จังหวัดหนองคาย โดยแยกพื้นที่อำเภอบึงกาฬ อำเภอปากคาด อำเภอโซ่พิสัย อำเภอพรเจริญ อำเภอเซกา อำเภอบึงโขงหลง อำเภอศรีวิไล และอำเภอบุ่งคล้า ออกจากจังหวัดหนองคาย แต่กระทรวงมหาดไทย ยังไม่มีแผนที่จะยกฐานะอำเภอบึงกาฬขึ้นเป็นจังหวัด เพราะการจัดตั้งจังหวัดใหม่เป็นการเพิ่มภาระด้านงบประมาณ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มกำลังคนภาครัฐซึ่งขัดมติคณะรัฐมนตรี
จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2553 ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ ส.ส.ส่วน พรรคกิจสังคมได้ตั้งกระทู้ถามสดต่อนายกรัฐมนตรี เรื่องการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ และทางกระทรวงมหาดไทยเห็นด้วย กำลังอยู่ในกระบวนการนำเข้าเสนอต่อที่ประชุม ครม. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนส่งเรื่องเข้ามาสู่สภาผู้แทนราษฎร เพื่อเสนอเป็นกฎหมายพ.ร.บ.จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ ต่อไป
ต่อมาในวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีก็มีมติให้ทำการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬขึ้นซึ่งมีผลนับตั้งแต่นี้ เป็นต้นไป จึงทำให้อำเภอบึงกาฬ ได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอเมืองบึงกาฬ
จากการสำรวจความเห็นของประชาชน จำนวน 366,903 คน ปรากฏว่าประชาชนเห็นด้วยกับการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ ร้อยละ 98.83 หากมีการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ จะมีประชากรประมาณ 399,233 คน ประกอบด้วย 8 อำเภอ ส่วนจังหวัดหนองคาย จะประกอบด้วย 9 อำเภอ ประชากร 506,343 คน
สภาพทั่วไปบึงกาฬ เป็นอำเภอที่มีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง มีน้ำตก มีภูเขา เป็นอำเภอที่มีเขตพื้นที่ติดต่อกับแม่น้ำโขง และแขวงบริคำไชย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ผลการพิจารณา เมื่อปี พ.ศ. 2537 กระทรวงมหาดไทย ได้แจ้งผลการพิจารณาว่ายังไม่มีแผนที่จะยกฐานะอำเภอบึงกาฬขึ้นเป็นจังหวัด เพราะการจัดตั้งจังหวัดใหม่เป็นการเพิ่มภาระด้านงบประมาณ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มกำลังคนภาครัฐซึ่งขัดมติคณะรัฐมนตรี
ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 กระทรวงมหาดไทย ได้นำเรื่องการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ เข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอเป็นร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ พ.ศ. ...
ต่อมาในวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีก็มีมติให้ทำการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬขึ้นซึ่งมีผลนับตั้งแต่นี้เป็นต้นไป จึงนับได้ว่าขณะนี้จังหวัดบึงกาฬได้แยกตัวออกจากจังหวัดหนองคายเป็นจังหวัดที่ 77 ในราชอาณาจักรไทย
อำเภอเมืองบึงกาฬ
เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดบึงกาฬ มีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแห่ง มีน้ำตก มีภูเขา เป็นอำเภอที่มีเขตพื้นที่ติดกับแม่น้ำโขง และอีกฝั่งตรงข้ามแม่น้ำโขงจะเป็นประเทศเพื่อนบ้าน (ลาว) มีการคมนาคมสะดวก
ประวัติ เดิมอำเภอบึงกาฬมีชื่อเดิมว่า ไชยบุรีซึ่งขึ้นกับจังหวัดนครพนม จนกระทั่งปี พ.ศ. 2460 ได้ถูกโอนย้ายให้ขึ้นต่อจังหวัดหนองคาย และถูกเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น บึงกาฬ ในปี พ.ศ. 2482
ต่อมา ในปี พ.ศ. 2537 ได้มีการร้องขอให้จัดตั้งเป็นจังหวัดบึงกาฬ ตามข้อเสนอของนายสุเมธ พรมพันห่าว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเสรีธรรม จังหวัดหนองคาย โดยแยกพื้นที่อำเภอบึงกาฬ อำเภอปากคาด อำเภอโซ่พิสัย อำเภอพรเจริญ อำเภอเซกา อำเภอบึงโขงหลง อำเภอศรีวิไล และอำเภอบุ่งคล้า ออกจากจังหวัดหนองคาย แต่กระทรวงมหาดไทย ยังไม่มีแผนที่จะยกฐานะอำเภอบึงกาฬขึ้นเป็นจังหวัด เพราะการจัดตั้งจังหวัดใหม่เป็นการเพิ่มภาระด้านงบประมาณ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มกำลังคนภาครัฐซึ่งขัดมติคณะรัฐมนตรี
จนกระทั่ง เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2553 ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร นายเทวฤทธิ์ นิกรเทศ ส.ส.ส่วน พรรคกิจสังคมได้ตั้งกระทู้ถามสดต่อนายกรัฐมนตรี เรื่องการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ และทางกระทรวงมหาดไทยเห็นด้วย กำลังอยู่ในกระบวนการนำเข้าเสนอต่อที่ประชุม ครม. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนส่งเรื่องเข้ามาสู่สภาผู้แทนราษฎร เพื่อเสนอเป็นกฎหมายพ.ร.บ.จัดตั้งจังหวัดบึงกาฬ ต่อไป
ต่อมาในวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2553 คณะรัฐมนตรีก็มีมติให้ทำการจัดตั้งจังหวัดบึงกาฬขึ้นซึ่งมีผลนับตั้งแต่นี้ เป็นต้นไป จึงทำให้อำเภอบึงกาฬ ได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอเมืองบึงกาฬ
"สถานที่ท่องเที่ยว"
ภูทอก






10 อันดับมหาลัยค่าเทอมแพงที่สุด
เทคนิคในการขับรถเมื่อฝนตก

นายอนุชา โมกขะเวส อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เปิดเผยว่า การขับรถในช่วงฤดูฝนผู้ขับขี่ต้องเพิ่มความระมัดระวังเป็นพิเศษ เพราะในช่วงฝนตกใหม่ ๆ น้ำฝนจะผสมกับขี้ฝุ่นกลายเป็นดินโคลนบาง ๆ ฉาบผิวถนน ทำให้ถนนลื่นกว่าปกติ โดยเฉพาะถนนลูกรังและทางดินเมื่อเกิดฝนตกหนักจะกลายสภาพเป็นแอ่งน้ำ หรือบ่อโคลนที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย เพื่อความปลอดภัย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ขอแนะเทคนิคการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินในการขับรถช่วงฝนตก ดังนี้
กรณีรถเหินน้ำ ซึ่งเกิดจากการขับรถด้วยความเร็วสูงผ่านบริเวณที่มีน้ำท่วมขัง หรือแอ่งน้ำ เพื่อความปลอดภัยผู้ขับขี่ควรจับพวงมาลัยให้มั่น ลดความเร็วรถก่อนถึงแอ่งน้ำจะช่วยลดแรงกระแทก ห้ามเหยียบเบรกในขณะที่ขับผ่านแอ่งน้ำ เพราะจะทำให้ล้อล็อคและรถเสียการทรงตัว จนเกิดอาการหมุนหรือปัดอย่างรวดเร็ว ให้แก้ไขโดยค่อย ๆ ถอนคันเร่งรอจนรถสามารถทรงตัวได้ดี จึงค่อยเหยียบเบรกเพื่อหยุดรถ
ห้องน้ำ…มุมที่เราหลายคนระวังตัวน้อยที่สุดในบ้าน แต่รู้ไหมคะว่าถ้าดูแลไม่ดีพอ ในห้องน้ำจะกลายเป็นแหล่งชุมนุมของเชื้อโรคขนาดเล็ก ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่ามากมายเชียวล่ะ
1. ผ้าม่านพลาสติก
มีคำยืนยันจากนักจุลชีววิทยาแล้วค่ะว่า คราบสีดำที่เกาะอยู่กับผ้าม่านพลาสติกในห้องน้ำนั้น ก็คือแบคทีเรียชนิดหนึ่ง ซึ่งสิ่งที่จะช่วยทำให้แบคทีเรียชนิดนี้เติบโตได้ดีก็คือ ละอองจากการเรอ จาม และไอของคนค่ะ
Safety Tip ควรถอดผ้าม่านพลาสติกไปซักอาทิตย์ละครั้งหรืออย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง
2. ฟองน้ำถูตัว
ฟองน้ำที่ใช้ถูตัวที่เป็นสิ่งชำระความสกปรกตามซอกต่าง ๆ ของร่างกาย แถมยังต้องเปียกชื้นอยู่เกือบตลอดเวลา จึงเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคเป็นอย่างดี
Safety Tip คุณแม่ควรเลือกฟองน้ำถูตัวที่ไม่หนามาก ซักฟองน้ำถูตัวด้วยสบู่และน้ำสะอาดทุกครั้งหลังใช้ และควรแขวนตากให้แห้งด้วย
1. ผ้าม่านพลาสติก
มีคำยืนยันจากนักจุลชีววิทยาแล้วค่ะว่า คราบสีดำที่เกาะอยู่กับผ้าม่านพลาสติกในห้องน้ำนั้น ก็คือแบคทีเรียชนิดหนึ่ง ซึ่งสิ่งที่จะช่วยทำให้แบคทีเรียชนิดนี้เติบโตได้ดีก็คือ ละอองจากการเรอ จาม และไอของคนค่ะ
Safety Tip ควรถอดผ้าม่านพลาสติกไปซักอาทิตย์ละครั้งหรืออย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง
2. ฟองน้ำถูตัว
ฟองน้ำที่ใช้ถูตัวที่เป็นสิ่งชำระความสกปรกตามซอกต่าง ๆ ของร่างกาย แถมยังต้องเปียกชื้นอยู่เกือบตลอดเวลา จึงเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคเป็นอย่างดี
Safety Tip คุณแม่ควรเลือกฟองน้ำถูตัวที่ไม่หนามาก ซักฟองน้ำถูตัวด้วยสบู่และน้ำสะอาดทุกครั้งหลังใช้ และควรแขวนตากให้แห้งด้วย
แปรงสีฟันแหล่งแพร่เชื่อโรค

ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น